วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14


-อาจารย์ได้ให้คำเสนอแนะเรื่องการทำบล็อก  รายละเอียดของบล็อก ตัวหนังสือในการทำบล็อก(ตัวหนังสือพิมพ์ หัวข้อ  แนะนำให้เป็นภาษาอังกฤษ)

-เพื่อนออกมานำเสนองานที่ยังค้างอยู่ ได้แก่มีดังนี้

1.พลอนไพลิน  ได้นำเสนอเรื่อง ผ้าเปลี่ยนสี  บูรณาการวิทยาศาสตร์ คือ  แอมโมเนียทำปฏิกิริยากับผงขมิ้น  เมื่อครูสะบัดผ้า  แอมโนเนียก็ระเหย  ออกมา  เลยทำให้ผ้า  กลับมาเป็นสีเหลืองเหมือนเดิม 
ข้อควรระวัง  ในระหว่างทำกิจกรรม  ครูพี่เลี้ยงต้องดูแเด็กลอย่างใกล้ชิด คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก




2.หยกทำการทดลอง  น้ำพุในขวด



3.บุ๋ม ทำการทดลองเรื่อง  มะนาวตกน้ำ


4.ตาล ทำการทดลองเรื่อง น้ำอัดลมฟองฟู


5.บีทำการทดลอง  พริกไทยหนีน้ำ


6.เอียร์ ทำการทดลอง ลาวาเล็ม 

7.อันทำการทดลองเรื่อง  ตกไม่แตก


-อาจารย์ให้คำเสนอแนะ ในการใช้คำถามถามเด็ก เช่น
  เด็กๆคิดว่า ของในโต๊ะคุณครูมีอะไรบ้างค่ะ   

-อาจารย์ให้ส่งงานที่ยังไม่ส่ง  ดิฉันส่ง รถลูกโป่ง





งานที่เพื่อนส่งอาจารย์


สรุปวิจัย


ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

ปริญญานิพนธ ของ ศศิพรรณ สําแดงเดช

ความมุงหมายของการวิจัย
 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม
การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับ การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง 

ความสําคัญของการวิจัย
 ผลของการศึกษาความครั้งนี้ จะเป็นแนวทางใหกับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องของกับการศึกษา
ปฐมวัยได้ตระหนัก และเข้าใจถึงความสําคัญในการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
ปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน รวมทั้งแป็นแนวทางในการทำกิจกรรมการ

ทดลองหลังการฟังนิทานให้มี ความหมายและเกิดประโยชนต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ความมุ่งหมาย
 เพื่อเปรียบเทียบมีทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟ้งนิทานก่อนและหลังการทดลอง

สมมุติฐาน
 เด็กปฐมวัยทได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน มีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตรในแต่ละทักษะสูงขึ้น และรวมทุกทักษะสูงขึ้นมากกว่าก่อนการทดลอง

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 
 1 เด็กปฐมวยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานมีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสําคัญที่ .01 และพบว่าทักษะด้านการสังเกต การจําแนก และการสื่อสารสูงกว่า
ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญที่ .01 
 2 ก่อนการทดลองการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน โดยรวมและรายด้าน คือ ด้าน
การสังเกต ด้านการจําแนก และด้านการสื่อสาร อยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมหลังการฟังนิทานโดยรวมอยู่ในระดับดีและรายด้านคือ ด้านการสังเกตอยู่ในระดับดีมาก ด้านการจําแนกและการสื่อสารอยู่ในระดับดี






วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13


-วันนี้ทำCooking Manu Fried rice Pork

-เพื่อนกลุ่มที่โดนโหวตเตรีมอุปกรณ์ในการทำFried rice  พร้อมทั้งแสดงบทบาทสมมติเป็นครูและเพื่อนแสดงเป็นเด็กนักเรียน

-การแสดงบทบาทสมมติผ่านการลงมือกระทำจริง




บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12


-อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม เพื่อคิดที่จะเขียนแผนการสอนการทำอาหาร พร้อมทั้งบอกวิธีการทำอาหาร   วันนี้อาจารย์ผู้สอนคือ  อ.เบียร 
-เมื่อทำเสร็จแล้ว  อาจารย์ให้ออกมานำเสนอแผนที่เราเขียนพร้อมทั้งให้เพื่อนโหวต จะทำอะไรกันดี ในอาทิตย์หน้า


กลุ่มที่1 เรื่อมะพร้าวอร่อยเหาะ





Super แกงจืด



กลุ่มที่3ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง


กลุ่มที่4ข้าวผัด



กลุ่มที่5 แซนวิชของหนู(กลุ่มดิฉันเอง)








-เพื่อนร่วมโหวตกันทำ ข้าวผัด











บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11



-ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจไปดูงานที่ต่างจังหวัด

บันทีกการเรียนการสอนครั้งที่10



-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่9



-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องอาจารย์ให้เข้างานเกษียณอายุของอาจารย์

วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่8


-อาจารย์ให้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ ต่อจาก วันที่มาเรียนชดเชย
-อาจารย์ได้ให้คำเสนอแนะในการออกมาสอนการทดลอง 
การทดลองต้องมีกระบวนกาารวิทยาศาสตร์ 4ข้อ
1.สมมติฐาน
2.ทดลอง
3.เก็บรวบรวม
4.สรุป

เครื่องที่ใช้สอนเด็ก  คือ คณิต กับ  ภาษา

การหยิบสิ่งของ ต้องหยิบจาก ขวาไปซ้าย

เพื่อนนำเสนอ  ดังนี้


จ๋านำเสนอ เรื่องมหัศจรรย์กระดา



แอมนำเสอน เรื่อง ชอลก์สลายตัว



แอมนำเสนอ เรื่อง เป่าลูกโป่งในขวด



ปูนิ่มนำเสนอ เรื่อง ตะเกียบมหัศจรรย์



แกนนำเสนอ  เรื่อง อากาศมีตัวตน