วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14


-อาจารย์ได้ให้คำเสนอแนะเรื่องการทำบล็อก  รายละเอียดของบล็อก ตัวหนังสือในการทำบล็อก(ตัวหนังสือพิมพ์ หัวข้อ  แนะนำให้เป็นภาษาอังกฤษ)

-เพื่อนออกมานำเสนองานที่ยังค้างอยู่ ได้แก่มีดังนี้

1.พลอนไพลิน  ได้นำเสนอเรื่อง ผ้าเปลี่ยนสี  บูรณาการวิทยาศาสตร์ คือ  แอมโมเนียทำปฏิกิริยากับผงขมิ้น  เมื่อครูสะบัดผ้า  แอมโนเนียก็ระเหย  ออกมา  เลยทำให้ผ้า  กลับมาเป็นสีเหลืองเหมือนเดิม 
ข้อควรระวัง  ในระหว่างทำกิจกรรม  ครูพี่เลี้ยงต้องดูแเด็กลอย่างใกล้ชิด คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก




2.หยกทำการทดลอง  น้ำพุในขวด



3.บุ๋ม ทำการทดลองเรื่อง  มะนาวตกน้ำ


4.ตาล ทำการทดลองเรื่อง น้ำอัดลมฟองฟู


5.บีทำการทดลอง  พริกไทยหนีน้ำ


6.เอียร์ ทำการทดลอง ลาวาเล็ม 

7.อันทำการทดลองเรื่อง  ตกไม่แตก


-อาจารย์ให้คำเสนอแนะ ในการใช้คำถามถามเด็ก เช่น
  เด็กๆคิดว่า ของในโต๊ะคุณครูมีอะไรบ้างค่ะ   

-อาจารย์ให้ส่งงานที่ยังไม่ส่ง  ดิฉันส่ง รถลูกโป่ง





งานที่เพื่อนส่งอาจารย์


สรุปวิจัย


ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

ปริญญานิพนธ ของ ศศิพรรณ สําแดงเดช

ความมุงหมายของการวิจัย
 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม
การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับ การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง 

ความสําคัญของการวิจัย
 ผลของการศึกษาความครั้งนี้ จะเป็นแนวทางใหกับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องของกับการศึกษา
ปฐมวัยได้ตระหนัก และเข้าใจถึงความสําคัญในการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
ปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน รวมทั้งแป็นแนวทางในการทำกิจกรรมการ

ทดลองหลังการฟังนิทานให้มี ความหมายและเกิดประโยชนต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ความมุ่งหมาย
 เพื่อเปรียบเทียบมีทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟ้งนิทานก่อนและหลังการทดลอง

สมมุติฐาน
 เด็กปฐมวัยทได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน มีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตรในแต่ละทักษะสูงขึ้น และรวมทุกทักษะสูงขึ้นมากกว่าก่อนการทดลอง

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 
 1 เด็กปฐมวยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานมีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสําคัญที่ .01 และพบว่าทักษะด้านการสังเกต การจําแนก และการสื่อสารสูงกว่า
ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญที่ .01 
 2 ก่อนการทดลองการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน โดยรวมและรายด้าน คือ ด้าน
การสังเกต ด้านการจําแนก และด้านการสื่อสาร อยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมหลังการฟังนิทานโดยรวมอยู่ในระดับดีและรายด้านคือ ด้านการสังเกตอยู่ในระดับดีมาก ด้านการจําแนกและการสื่อสารอยู่ในระดับดี






วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13


-วันนี้ทำCooking Manu Fried rice Pork

-เพื่อนกลุ่มที่โดนโหวตเตรีมอุปกรณ์ในการทำFried rice  พร้อมทั้งแสดงบทบาทสมมติเป็นครูและเพื่อนแสดงเป็นเด็กนักเรียน

-การแสดงบทบาทสมมติผ่านการลงมือกระทำจริง




บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12


-อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม เพื่อคิดที่จะเขียนแผนการสอนการทำอาหาร พร้อมทั้งบอกวิธีการทำอาหาร   วันนี้อาจารย์ผู้สอนคือ  อ.เบียร 
-เมื่อทำเสร็จแล้ว  อาจารย์ให้ออกมานำเสนอแผนที่เราเขียนพร้อมทั้งให้เพื่อนโหวต จะทำอะไรกันดี ในอาทิตย์หน้า


กลุ่มที่1 เรื่อมะพร้าวอร่อยเหาะ





Super แกงจืด



กลุ่มที่3ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง


กลุ่มที่4ข้าวผัด



กลุ่มที่5 แซนวิชของหนู(กลุ่มดิฉันเอง)








-เพื่อนร่วมโหวตกันทำ ข้าวผัด











บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11



-ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจไปดูงานที่ต่างจังหวัด

บันทีกการเรียนการสอนครั้งที่10



-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่9



-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องอาจารย์ให้เข้างานเกษียณอายุของอาจารย์

วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่8


-อาจารย์ให้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ ต่อจาก วันที่มาเรียนชดเชย
-อาจารย์ได้ให้คำเสนอแนะในการออกมาสอนการทดลอง 
การทดลองต้องมีกระบวนกาารวิทยาศาสตร์ 4ข้อ
1.สมมติฐาน
2.ทดลอง
3.เก็บรวบรวม
4.สรุป

เครื่องที่ใช้สอนเด็ก  คือ คณิต กับ  ภาษา

การหยิบสิ่งของ ต้องหยิบจาก ขวาไปซ้าย

เพื่อนนำเสนอ  ดังนี้


จ๋านำเสนอ เรื่องมหัศจรรย์กระดา



แอมนำเสอน เรื่อง ชอลก์สลายตัว



แอมนำเสนอ เรื่อง เป่าลูกโป่งในขวด



ปูนิ่มนำเสนอ เรื่อง ตะเกียบมหัศจรรย์



แกนนำเสนอ  เรื่อง อากาศมีตัวตน









วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่7


เรียนชดเชยวันแม่และ  วันสอบกลางภาค


-อาจารย์ให้นักศึกษาไปหยิบกล่องลังในห้องพักอาจารย์มาคนละกล่อง
แล้วให้นักศึกษาคนที่ยังไม่ทำของเล่นเข้ามุม แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2-3คน  ประดิษฐ์ของเล่นเข้ามุม
ส่วนคนที่ทำมาแล้ว  ไม่ต้องทำอีก

-อาจารย์ให้คำแนะนำก่อนที่จะสอนทำการทดลอง

-เพื่อนออกมา สาธิต การทดลองวิทยาศาสตร์  มีดังนี้



ก้อนหินลอยน้ำได้



ดอกไม้บาน


การชั่งทดลองบนดวงจันทร์


ลูกโป่งลากกระป๋อง



น้ำมาจากไหน



และของดิฉัน  เส้นด้ายยกน้ำแข็ง

วิธีการทำการทดลองเส้นด้ายยกน้ำแข็ง
วัสดุ-อุปกรณ์ 
1.น้ำแข็ง
2.จาบแบน
3.ช้อน
4.เส้นด้าย
5.เกลือ

วิธีการทำ 

-ตัดเชือกด้าย ประมาณ1เซนติเมตร  
-เอาเส้นด้ายมาทาบกับน้ำแข็งที่เราจะทำการทดลอง
-โรยเกลือบริเวณที่เราวางเส้นด้าย
-จับเวลา3นาที  แร้วลองดึงก้อนน้ำแข็ง

ผลการทดลอง

-เส้นด้ายติดมากับน้ำแข็ง  เพราะว่า โดยปกติแล้วน้ำแข็งก็มีความเย็นอยู่แล้ว  ยิ่งเราโรยเกลือเข้าไปอีก  ทำให้น้ำแข็ง แข็งกว่าเดิม  ทำให้เส้นด้ายติดมากับน้ำแข็ง  น้ำแข็งเกิดการหลอมละลาย







บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่6


เรียนชดเชย เนื่องวันอาสาฬบูชา

-อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปเสนองาน  เรื่องสิ่งประดิษฐ์จากของเล่น พร้อมออกมาสาธิตวิธีการทำ

มีดังนี้
1.เป่าปิงปองด้วยหลอด    2.ไก่กระต๊าก     3.เฮอร์ริคคอปเตอร์กระดาษ 
4.กังหันลมจิ๋ว    5.โบว์ลิ่ง   6. โยโย่ผสมสี  7.ลูกข่างจากแผ่นซีดี
8.เรื่องพลังยาง  9.คอปเตอร์ไม้ไอติม





(และของดิฉันรถไถจากหลอดด้าย)



-อาจารย์เอาตัวอย่างงานของรุ่นพี่มาให้ดู




-อาจารย์ได้ชี่แจง งานที่ต้องส่ง อาทิตย์หน้า
1. การทดลองวิทยาศาสตร์
2. ของเล่นตามมุม

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่5

-อาจารย์ให้นำเสนอแผนการทำของเล่น(ที่นักศึกษาเตรียมของเล่นมาเสนอ)
ยกตัวอย่างเช่นของพี่อ็อฟ(เครื่องบินแรงดันอากาศ)


ทอรนาโด (จ๋า)


-สิ่งที่นักศึกษาต้องทำมา
1.ของเล่นพร้อมทำแผน
2.ของเล่นเข้ามุมพร้อมทำแผบ
3.การทดลองวิทยาศาสตร์ พร้อมทำแผน

-อาจารย์ได้แนะนำชี้แนวทางการทำของเล่นใหม่ๆ
-อาจารย์ได้เปิดวีดีทัศน์ ภาพตัวอย่างการทดลองของสถาบันต่างๆ
<การทดลองเรื่องเสียงและอากาศ   ของเล่นวิทยาศาสตร์  ดอกไม้กับแมลง>

-อาจารย์ได้เปิดการทดลองของ ISCI ฉลาดยกกำลัง2ให้นักศึกษาดูเป็นตัวอย่าง

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่4

-อาจารย์ให้สังเกตสื่อ เรื่อง ขวดน้ำ แรงดันอากาศ
-อาจารย์ให้พับกระดาษแล้วตัดออก แล้ววาดทเป็นภาพเคลื่อนไหว และตัดออก และวาดทำเป็นภาพซ้อน






-อาจารย์ให้ดูวีดีโอมหัศจรรย์ของน้ำ
-น้ำเป็นสื่งที่จำเป็นมากที่สุดในร่างกาย  น้ำในร่างกายเรามี 70% และน้ำยังช่วยปรับเปลี่ยนอุญหภูมิในร่างกายเราอีกด้วย

คุณสมบัติของน้ำมี อย่างคือ 
-ของแข็ง   -ของเหลว    -และก๊าซ

การเกิดฝน  คือ  ไอน้ำระเหยขึ้นไป รวมตัวกันเปงละลองน้ำ  (ก้อนเมฆ) เกิดการควบแน่น และตกลงมาเป็นฝน

เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็งจะเกิด การขยายตัว  12ซม.แต่โมเลกุลของน้ำจะอ่อนกว่าน้ำแข็ง


-อาจารย์ได้ถามสรุปว่า สิ่งที่ขาดไปในซีดี มีอะไรบ้าง
1.กระบวนการวิทยาศาสตร์
2.สมมติฐาน
3.สังเกต
4.สรุป
-อาจารย์ได้เสนแนะเพิ่มเติม  คืิ
การเปรียบเทียบมีหลายลักษณะ  การให้เด็กมีส่วนรวม

-สรุปร่วมกัน  อาจารย์ได้ถามว่า
 ทำไมเรือถึงไม่จม?
=ความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ

แรงตึงผิวใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
=สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด เช่นผงซักฟอก สบู่ ยาสีฟัน

แรงดันอากาศในชีวิตประจำวัน
-การสร้างเขื่อน
-ผลิตน้ำอัดลม
-โฮเวอร์คราฟ
-ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า







บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่3

-อาจารย์ได้ให้นักศึกษา บอกความหมาย สื่อ  คืออะไร

-อาจารย์ทบทวนความรู้เรื่องแสง  เมื่อแสงกระทบกับวัตถุ ทำให้เรามองเห็นส่งนั้นได้ชัดเจน
-อาจารย์ให้นักศึกษากลับไปลิ้ง เรื่อง  แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-อาจารย์และนักศึกษา ร่วมกัน สรุป6ประเด็น เป็นmind map


ประเด็นที่1 ความหมาย
-สิ่งแวดล้อมรอบตัว
-สิ่งที่เป็นความรู้และกระบวนการ
-หลักฐานที่เป็นเหตุเป็นผลสามารถพิสูจน์ได้
-ความรู้ที่ผ่านการทดลอง สังเกต และค้นคว้า

ประเด็นที่2 ความสำคัญ
-ช่วยพัฒนาความคิด เป็นเหตุเป็นผล
-มีทักษะสำคัญในการค้นคว้า
-พัฒนาเทคโนโลยี
-ทำให้เกิดความสะดวกสบายในการดำรงชีวิต
-แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ

ประเด็นที่3 พัฒนาการด้านสติปัญญา
-ความเจริญงอกงามของความคิดความฉลาด
-ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-กระบวนการเกิดขึ้นตลอดเวลา
-ขั้นพัฒนาการทางด้านสติปัญญา

ประเด็นที่4 การเรียนรู้
-การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-เส้นใยสมองเชื่อมโยงกัน

ประเด็นที่5 แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
-การเปลี่ยนแปลง
-การแตกต่าง
-การปรับตัว
-การพึ่งพาอาศัย
-ความสมดุล
-วิธีการทางวิทยาศาสตร์

ประเด็นที่6 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-การค้นคว้า
-ผลผลิต

-อาจารย์สรุปให้ฟังอีกครั้ง

-อาจารย์ให้นักศึกษาดูวีดีโอเรื่องความลับของแสง

ถ้าเราไม่มีแสง  เราไม่สามารถมองเห็นได้ 
แสงเดินทางเป็นเส้นตรง  คลื่นของแสง 300000 กม.
แสงกระทบกับวัตถุ ทำให้เกิดเงา

คุณสมบัติของแสง
-แสงผ่านได้ โปร่งแสง  กับโปร่งใส
-การสะท้อนของแสง

กล้องพาราโดสโคบ สะท้อนแสง  บวก มุมกระจก



















วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่2

-อาจารย์หั้ยจับกลุ่ม กลุ่มละ  6คน ได้5กลุ่ม
กลุ่มที่1 ความหมายและความสำคัญ
กลุ่มที่2 พัฒนาการทางสติปัญญา
กลุ่มที่3 การเรียนรู้
กลุ่มที่4 แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มที5 กระบวการทางวิทยาศาสตร์

-ให้นักศึกษาอ่านและสรุปในแต่ละหัวข้อ แลกเปลี่ยนกันอ่านโดยครบในกลุ่ม  ส่งตัวแทนไปแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม

-อาจารย์ให้ดู  VDO เรื่องอากาศ








ปล.วันนี้ดิฉันไม่ได้มาเรียน  คัดลอกมาจาก น.ส. อาริตา ภูมาสี



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่1


-อาจารย์ปฐมนิเทศน์เรื่อง  ข้อตกลงการแต่งกาย  เวลาเข้าห้อง
-อาจารย์เขียนสิ่งที่ได้จากวิชานี้
-อาจารย์อธิบายรายวิชานี้
-อาจารย์พูดเรื่องการทำบล็อก  และนักศึกษาที่ติดI